ทำ Passport ที่ไหนได้บ้างเอ่ย?
- กรมการกงสุล แจ้งวัฒนะที่อยู่ 123 ถนนแจ้งวัฒนะ เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210
- สำนักงานหนังสือเดินทางชั่วคราว บางนา
ที่อยู่ ศูนย์การค้าเซ็นทรัลซิตี้บางนา อาคาร "บางนาฮอลล์"(ด้านข้างศูนย์การค้า) ชั้น B1
- สำนักงานหนังสือเดินทางชั่วคราว ปิ่นเกล้า
ที่อยู่ อาคารธนาลงกรณ์ทาวเวอร์(ชั้นใต้ดิน) แขวงบางบำหรุ เขตบางพลัด กทม. 10700
- สำนักงานหนังสือเดินทาง ศูนย์บริการการไปทำงานต่างประเทศ
ที่อยู่ อาคารประกันสังคม กระทรวงแรงงาน ดินแดง กทม.
- สำนักงานหนังสือเดินทางชั่วคราว จังหวัดขอนแก่น
ที่อยู่ หอประชุมอำเภอเมืองขอนแก่น ถนนศูนย์ราชการ อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น 40000
- สำนักงานหนังสือเดินทางชั่วคราว จังหวัดเชียงใหม่
ที่อยู่ ศูนย์ราชการจังหวัดเชียงใหม่ ถนนโชตนา ตำบลช้างเผือก อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50000
- สำนักงานหนังสือเดินทางชั่วคราว จังหวัดสงขลา
ที่อยู่ ศูนย์ราชการจังหวัดสงขลา อำเภอเมือง จ.สงขลา 90000
- สำนักงานหนังสือเดินทางชั่วคราว จังหวัดอุบลราชธานี
ที่อยู่ อาคารสำนักงานองค์การบริหารส่วนจังหวัด อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี 34000
- สำนักงานหนังสือเดินทางชั่วคราว จังหวัดสุราษฎร์ธานี
ที่อยู่ ศาลาประชาคม ถนนหน้าเมือง อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี 84000
- สำนักงานหนังสือเดินทางชั่วคราว จังหวัดนครราชสีมา
ที่อยู่ ศาลากลางจังหวัดนครราชสีมา ถนนมหาดไทย อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา 30000
- สำนักงานหนังสือเดินทางชั่วคราว จังหวัดอุดรธานี
ที่อยู่ ศูนย์อเนกประสงค์ ศาลากลางจังหวัดอุดรธานี(ตรงข้ามกับศาลหลักเมือง) ถนนอธิบดี อำเภอ เมือง จังหวัดอุดรธานี 41000
- สำนักงานหนังสือเดินทางชัวคราว จังหวัดพิษณุโลก
ที่อยู่ ศาลากลางจังหวัดพิษณุโลก ถนนเทพารักษ์ อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก 65000
- สำนักงานหนังสือเดินทางชั่วคราว จังหวัดยะลา
ที่อยู่ ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) ถนนสุขยางค์ อำเภอเมือง จังหวัดยะลา 95000
- สำนักงานหนังสือเดินทางชั่วคราว ภูเก็ต
ที่อยู่ ศาลากลางจังหวัดภูเก็ต ถนนนริศร อำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต 83000
- สำนักงานหนังสือเดินทางชั่วคราว นครสวรรค์
ที่อยู่ ศูนย์บริการร่วมจังหวัดนครสวรรค์ ห้างสรรพสินค้าบิ๊กซี ถนนพหลโยธิน อำเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์ 60000
- สำนักงานหนังสือเดินทางชั่วคราว จันทบุรี
ที่อยู่ อาคารลานค้าชุมชน ถ.เลียบเนิน ต.วัดใหม่ อ.เมือง จ.จันทบุรี 22000
Passport แบ่งเป็น 3 ประเภท มีแบบไหนบ้าง??
1. Passport แบบธรรมดา ก็จะแบ่งเป็นดังนี้ค่ะ
- บุคคลบรรลุนิติภาวะแล้ว
- บัตรประจำตัวประชาชนที่ยังมีอายุใช้งาน หรือ บัตรข้าราชการ หรือ บัตรประจำตัวที่ใช้แทนตามกฎ กระทรวงมหาดไทยฉบับจริง (ในกรณีที่เป็นบัตรข้าราชการให้นำสำเนาทะเบียนบ้านมาด้วย)
- หากมีรายการแก้ไขชื่อสกุล หรือวันเดือนปีเกิด ฯลฯ ซึ่งไม่ตรงกับบัตรประชาชนให้นำหลักฐานการแก้ไขที่เกี่ยวข้องมาแสดงด้วย
- ค่าธรรมเนียม การทำหนังสือเดินทางใหม่เสียค่าธรรมเนียม 1,000 บาท
- ผู้เยาว์อายุต่ำกว่า 15 ปี
- สูติบัตรฉบับจริง หากเป็นสำเนาสูติบัตรต้องได้รับการรับรองจากอำเภอ/เขต
- บิดาและมารดา หรือผู้มีอำนาจปกครองนำบัตรประชาชนฉบับจริงมาลงนามต่อหน้าเจ้าหน้าที่
บัตร ประจำตัวประชาชนที่ยังมีอายุใช้งาน หรือ บัตรที่ใช้แทนได้ตามกฎกระทรวงมหาดไทย ของบิดา มารดา หรือผู้มีอำนาจปกครองฉบับจริง หากชื่อนามสกุลบิดา มารดาในสูติบัตรไม่ตรงกับบัตรประจำตัวประชาชน ให้นำหลักฐานการเปลี่ยนชื่อ หรือ นามสกุลที่เป็นต้นฉบับมาแสดงด้วย ในกรณีที่มารดาหย่า และจดทะเบียนสมรสใหม่ และใช้นามสกุลใหม่ตามสามีให้นำหลักฐานการหย่าและการสมรสที่เป็นต้นฉบับมา แสดงด้วย
- หนังสือยินยอมให้ผู้เยาว์เดินทางไปต่างประเทศและบัตรประจำตัวประชาชนฉบับ จริงของบิดามารดาที่ไม่มา ในกรณีที่บิดา/มารดาฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดไม่สามารถมาแสดงตัวได้
**หนังสือยินยอมของบิดา/มารดา ต้องผ่านการรับรองจากอำเภอ/เขต
(ผู้เยาว์อายุต่ำกว่า 15 ปี ต้องมีบิดาหรือมารดา คนใดคนหนึ่งมาแสดงตัวให้ความยินยอม)
- เอกสารอื่น ๆ ที่จำเป็น อาทิ หลักฐานใบเปลี่ยนชื่อ เปลี่ยนนามสกุล เอกสารหลักฐานการรับรอง บุตรหรือรับบุตรบุญธรรม บันทึกการหย่า ซึ่งมีข้อความระบุให้บุตรอยู่ในความดูแลของบิดา หรือมารดา เป็นต้น
- กรณีบิดา มารดาผู้เยาว์เสียชีวิต / บิดาหรือมารดาผู้เยาว์เป็นชาวต่างชาติมิได้จดทะเบียนสมรสและ ไม่สามารถตามหาฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งมาให้ความยินยอมได้ /บิดามารดามิได้จดทะเบียนสมรสแต่บุตรอยู่ในความดูแลของบิดาฝ่ายเดียวมาตลอด และไม่สามารถตามหามารดาได้ ให้นำคำสั่งศาลซึ่งระบุชื่อผู้มีอำนาจปกครอง พร้อมบัตรประจำตัวประชาชนของผู้มีอำนาจปกครองมาแสดง
- ค่าธรรมเนียม การทำหนังสือเดินทางใหม่เสียค่าธรรมเนียม 1,000 บาท
เตรียมเอกสารดังนี้ค่ะ
- บัตรประจำตัวประชาชนที่ยังมีอายุใช้งาน หรือ บัตรประจำตัวที่ใช้แทนตามกฎกระทรวง มหาดไทย
- หนังสือยินยอมให้ผู้เยาว์เดินทางไปต่างประเทศที่ผ่านการรับรองจากอำเภอ/เขต และบัตรประจำตัวประชาชนของผู้ปกครอง พร้อมรับรองสำเนาถูกต้อง
- เอกสารอื่น ๆ ที่จำเป็น อาทิ หลักฐานใบเปลี่ยนชื่อ เปลี่ยนนามสกุล เอกสารหลักฐานการรับรองบุตรหรือรับบุตรบุญธรรมใบสำคัญการสมรส ทะเบียนสมรส ทะเบียนหย่า ทะเบียนบ้าน คำสั่งศาลกรณีระบุผู้มีอำนาจปกครองแทนบิดามารดา เป็นต้น
- ค่าธรรมเนียม การทำหนังสือเดินทางเสียค่าธรรมเนียม 1,000 บาท
ขั้นตอนการขอ Passport ใหม่ค่ะ
1. รับบัตรคิว
2. ยื่นบัตรประจำตัวประชาชนที่มีเลข 13 หลัก(หากไม่มีเลข 13 หลัก ต้องนำสำเนาทะเบียนบ้านมาแสดง) พร้อมเอกสารหลักฐานอื่น ๆที่จำเป็น อาทิ หากเปลี่ยนชื่อสกุล ต้องมีหลักฐานการเปลี่ยนชื่อ นามสกุล ทะเบียนสมรส ฯลฯ มาแสดง เพื่อตรวจสอบข้อมูล
- ข้อมูลชีวภาพ (วัดส่วนสูง เก็บลายพิมพ์นิ้วมือนิ้วชี้ซ้ายและนิ้วชี้ขวาด้วยเครื่องสแกนเนอร์ และถ่ายรูปใบหน้า )
- แจ้งความประสงค์หากต้องการขอรับเล่มทางไปรษณีย์
3. ชำระค่าธรรมเนียม 1,000 บาท (และค่าส่งไปรษณีย์ 35 บาทหากประสงค์ให้จัดส่งทางไปรษณีย์) รับใบเสร็จรับเงิน และรับใบนัดรับเล่ม- ข้อมูลชีวภาพ (วัดส่วนสูง เก็บลายพิมพ์นิ้วมือนิ้วชี้ซ้ายและนิ้วชี้ขวาด้วยเครื่องสแกนเนอร์ และถ่ายรูปใบหน้า )
- แจ้งความประสงค์หากต้องการขอรับเล่มทางไปรษณีย์
การรับเล่มหนังสือเดินทาง (Passport)
- หากยื่นที่กรมการกงสุล ผู้ร้องสามารถรับหนังสือเดินทางได้ 2 วันทำการไม่นับวันยื่นคำร้อง หากรับทางไปรษณีย์จะได้รับใน 5 วันทำการ
- หากยื่นที่สำนักงานสาขาในกรุงเทพฯ (ปิ่นเกล้าและบางนา) ผู้ร้องจะได้รับเล่มภายใน 2 วันทำการไม่นับวันยื่นคำร้อง หากรับทางไปรษณีย์จะได้รับใน 5 วันทำการ
- กรณียื่นคำร้องที่สำนักงานสาขาในต่างจังหวัดและขอให้จัดส่งทางไปรษณีย์ผู้ร้อง (ในเขตเมือง) จะได้รับหนังสือเดินทางภายใน 5 วันทำการ
- โดยที่กระทรวงฯ ได้ติดตั้งเครื่องอ่านหนังสือเดินทางอิเล็กทรอนิกส์จำลองเพื่อผู้ร้องสามารถ ทดสอบการผ่านเข้า-ออกท่าอากาศยานโดยอัตโนมัติไว้ 1 เครื่อง ที่กรมการกงสุล ดังนั้นจึงแนะนำให้ผู้ขอหนังสือเดินทางอิเล็กทรอนิกส์มารับเล่มด้วยตนเอง เพื่อให้ผู้ถือหนังสือเดินทางมีความคุ้นเคยกับการใช้หนังสือเดินทาง อิเล็กทรอนิกส์และระบบตรวจคนเข้าเมืองอัตโนมัติ
- ในกรณีจำเป็น สามารถมอบอำนาจให้ผู้อื่นรับแทนหรือให้จัดส่งทางไปรษณีย์ (EMS)
1. กรมการกงสุล
- รับด้วยตนเอง เอกสารที่ใช้
1) บัตรประชาชนตัวจริงของผู้รับ
2) ใบรับหนังสือเดินทาง
ระยะเวลา 2 วันทำการ (ไม่รวมวันยื่นคำร้อง)
ระยะเวลา 2 วันทำการ (ไม่รวมวันยื่นคำร้อง)
- ให้ผู้อื่นมารับแทน เอกสารใช้
1) บัตรประชาชนตัวจริงของผู้ถือหนังสือเดินทาง
2) บัตรประชาชนตัวจริงของผู้รับแทน
3) ใบรับหนังสือเดินทางที่ลงนามมอบอำนาจแล้ว
ระยะเวลา 2 วันทำการ (ไม่รวมวันยื่นคำร้อง) 1) บัตรประชาชนตัวจริงของผู้ถือหนังสือเดินทาง
2) บัตรประชาชนตัวจริงของผู้รับแทน
3) ใบรับหนังสือเดินทางที่ลงนามมอบอำนาจแล้ว
- รับทางไปรษณีย์
5-7 วันทำการ (ไม่รวมวันเสาร์-อาทิตย์)
- ปิ่นเกล้า
- บางนา
- ศูนย์บริการการไปทำงานต่างประเทศ - รับด้วยตนเอง เอกสารที่ใช้1) บัตรประชาชนตัวจริงของผู้รับ2) ใบรับหนังสือเดินทาง
ระยะเวลา 2 วันทำการ (ไม่รวมวันยื่นคำร้อง)
- ให้ผู้อื่นมารับแทน เอกสารใช้ระยะเวลา 2 วันทำการ (ไม่รวมวันยื่นคำร้อง)
1) บัตรประชาชนตัวจริงของผู้ถือหนังสือเดินทาง
2) บัตรประชาชนตัวจริงของผู้รับแทน
3) ใบรับหนังสือเดินทางที่ลงนามมอบอำนาจแล้ว
- รับทางไปรษณีย์
5-7 วันทำการ (ไม่รวมวันเสาร์-อาทิตย์) 3. สำนักงานหนังสือเดินทางในต่างจังหวัดทุกแห่ง - รับทางไปรษณีย์เพียงทางเดียว
- รับทางไปรษณีย์เพียงทางเดียว
7-10 วันทำการ (ไม่รวมวันเสาร์-อาทิตย์)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น